دورية أكاديمية

Treatment of Anterior Dental Crossbite in Child with Removable Appliance : A case report ; การรักษาฟันสบคร่อมด้านหน้าในผู้ป่วยเด็ก โดยการใช้เครื่องมือจัดฟันชนิดถอดได้ : รายงานผู้ป่วย

التفاصيل البيبلوغرافية
العنوان: Treatment of Anterior Dental Crossbite in Child with Removable Appliance : A case report ; การรักษาฟันสบคร่อมด้านหน้าในผู้ป่วยเด็ก โดยการใช้เครื่องมือจัดฟันชนิดถอดได้ : รายงานผู้ป่วย
المؤلفون: นันทพัฒน์พิทยา, ศิรดา
المصدر: Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3; Publish Ahead of Print ; 2774-0579 ; 2821-9201
بيانات النشر: โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ และ เขตสุขภาพที่ 3 กระทรวงสาธารณสุข
سنة النشر: 2024
المجموعة: Thailand Digital Journals
مصطلحات موضوعية: ฟันสบคร่อมด้านหน้า, เครื่องมือจัดฟันชนิดถอดได้, ทันตกรรมจัดฟันเชิงแก้ไข, anterior crossbite, removable appliance, interceptive orthodontic treatment
الوصف: Anterior crossbite is defined as the malocclusion that results in the maxilla anterior teeth being positioned behind the mandibular anterior teeth. Anterior crossbite may lead to abrasion of anterior teeth, traumatic occlusion, or gingival recession. Early diagnosis and interceptive orthodontic treatment will reduce the severity of malocclusion in permanent dentition. This case report presents a nine-year-old boy referred for anterior crossbite treatment. Oral examination revealed the anterior crossbite of the upper left central incisor and lower left central incisor with gingival recession. The treatment was managed by a removable appliance with a double cantilever spring and posterior bite plane. After four months, the anterior crossbite was corrected, and periodontal conditions improved. These results indicated that a removable appliance is one of the effective methods used in anterior crossbite treatments. Keywords: anterior crossbite, removable appliance, interceptive orthodontic treatment ; ภาวะฟันสบคร่อมด้านหน้า เป็นภาวะที่มีความผิดปกติของการสบฟัน”ที่ฟันหน้าบนตำแหน่งอยู่ค่อนมาด้านเพดานต่อ ฟันหน้าล่าง มักจะทำให้เกิดฟันหน้าบนสึก เกิดการสบกระแทก เกิดภาวะเหงือกร่น การตรวจพบความผิดปกติในการสบฟันตั้งแต่เริ่มต้นและการให้การรักษาทันตกรรมจัดฟันเชิงแก้ไขที่เหมาะสมตั้งแต่แรกเริ่ม จะช่วยลดความรุนแรงของความผิดปกติในชุดฟันแท้ได้ รายงานผู้ป่วยนี้ เป็นการนำเสนอการรักษาฟันสบคร่อมด้านหน้าในผู้ป่วยเด็กชายอายุ 9 ปีถูกส่งต่อมาเนื่องจากตรวจพบว่ามีฟันสบคร่อมด้านหน้า ตรวจในช่องปากพบฟันซี่ 21 สบคร่อมกับฟันซี่ 31 มีภาวะเหงือกร่นที่ฟันซี่ 31 ให้การรักษาโดยการใช้เครื่องมือทางทันตกรรมจัดฟันชนิดถอดได้ที่ออกแบบให้มีสปริงคู่ดีดและแผ่นระนาบกัดฟันหลัง ใช้เวลาในการรักษา 4 เดือน สามารถแก้ไขฟันสบคร่อมด้านหน้าได้ มีภาวะเหงือกร่นลดลง การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการใช้เครื่องมือทางทันตกรรมจัดฟันชนิดถอดได้เป็นอีกวิธีหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะฟันสบคร่อมด้านหน้า คำสำคัญ: ฟันสบคร่อมด้านหน้า เครื่องมือจัดฟันชนิดถอดได้ ทันตกรรมจัดฟันเชิงแก้ไข
نوع الوثيقة: article in journal/newspaper
وصف الملف: application/pdf
اللغة: Thai
العلاقة: https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/14587/12080Test; https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/14587Test
الإتاحة: https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/14587Test
حقوق: ลิขสิทธิ์ (c) 2024 Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 ; https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0Test
رقم الانضمام: edsbas.8F21FC7E
قاعدة البيانات: BASE